Australian and Briton Appear in Thai Court

เธอคือใคร

วันอาทิตย์ที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2553

สำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 6

วันจันทร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 6

จัดให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงอยู่ ในลำดับแรก

ของพระมหากษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดนั้น สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้ชี้แจงว่า บทความดังกล่าวมีความคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริง เนื่องจากว่า ทรัพย์สินที่บทความนำมาประเมินนั้น ในความเป็นจริง มิใช่ทรัพย์สินส่วนพระองค์ แต่เป็นของแผ่นดิน ซึ่งเป็นไปในทำนองเดียวกันกับพระมหากษัตริย์ในประเทศอื่น ที่บทความเดียวกันนี้ไม่ได้จัดอันดับฐานะความร่ำรวย เพราะทรัพย์สินต่างๆ ไม่ใช่ของกษัตริย์ หากแต่เป็นของคนทั้งชาติ

สำนักงานทรัพย์สินฯ ให้ข้อมูลเพิ่มเติมว่า "ที่ดิน" ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส่วนใหญ่หน่วยงานราชการ องค์กรสาธารณะกุศลเป็นผู้ใช้ประโยชน์ และจัดให้ประชาชน ที่ไม่ได้มีฐานะร่ำรวย รวมทั้งชุมชนอีกกว่าหนึ่งร้อยแห่ง เช่าในอัตราที่ต่ำ มีเพียงส่วนน้อยประมาณ 7% ของที่ดิน ที่จัดให้เอกชนเช่าและจัดเก็บในอัตราเชิงพาณิชย์

ทั้งนี้ กระทรวงการต่างประเทศได้ชี้แจงไปยังนิตยสาร Forbes แล้ว

อย่างไรก็ดีแม้กระทรวงต่างประเทศชี้แจงไปในปีที่แล้ว แต่มาในปีนี้ฟอร์บสยังคงจัดอันดับให้ในหลวงเป็นกษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดของโลกต่อเนื่องเป็นปีที่2 โดยฟอร์บสอ้างว่า เพราะในหลวงมีพระราชอำนาจในการจัดการในสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

4.พสกนิกรสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ จัดสรรเงินภาษีให้สำนักพระราชวังปีหน้า3พันล้านบาท

เวบไซต์ของสำนักงบประมาณ
http://www.bb.go.th/...00/00000038.PDF

เปิดเผยว่า งบประมาณ ของสำนักพระราชวัง ที่ประกาศใน "งบประมาณโดยสังเขป" ประจำปี 53 อยู่ที่ 2,364.6 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีก่อนนี้ 13.3% โดยเมื่อปีที่แล้ว งบนี้อยู่ที่ 2,086.3 ล้านบาท

งบประมาณของสำนักพระราชวัง

ปี 2502--------32,836,049 บาท
ปี 2522-------126,185,900 บาท
ปี 2523-------141,151,100 บาท
ปี 2524-------165,683,100 บาท
ปี 2525-------184,922,000 บาท
ปี 2526-------235,286,000 บาท
ปี 2527-------312,911,700 บาท
ปี 2528-------281,435,000 บาท
ปี 2529-------340,980,000 บาท
ปี 2530-------387,734,790 บาท
ปี 2531-------358,685,300 บาท

ปี 2533-------450,372,100 บาท
ปี 2534-------517,515,900 บาท
ปี 2535-------623,176,400 บาท
ปี 2536-------829,365,200 บาท
ปี 2537-------815,711,600 บาท
ปี 2538-------933,229,700 บาท
ปี 2539-------907,461,000 บาท
ปี 2540-------944,400,000 บาท
ปี 2541-------987,516,500 บาท
ปี 2542-------961,575,400 บาท
ปี 2543------1,028,315,500 บาท
ปี 2544------1,058,540,000 บาท
ปี 2545------1,136,536,600 บาท
ปี 2546------1,209,861,700 บาท
ปี 2547------1,275,948,400 บาท
ปี 2548------1,501,472,900 บาท
ปี 2549------1,676,888,800 บาท
ปี 2550------1,945,122,400 บาท
ปี 2551------2,086,310,000 บาท
ปี 2552-------2,086,310,000 บาท
ปี2553-------2,364.610,000 บาท
ปี2554----ประมาณการณ์เพิ่มขึ้นเป็น3,303 ล้านบาทเศษ*

http://www.sameskybo...showtopic=35415

ทั้งนี้งบประมาณที่พสกนิกรน้อมถวายด้วยความสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณนี้ก็เพื่อ
: ความสะดวกแด่พระมหากษัตริย์และพระบรมวงศานุวงศ์ เช่น

4. งบเงินอุดหนุน 835,519,200 บาท

4.1 เงินอุดหนุนทั่วไป 835,519,200 บาท
1) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในพระราชฐานที่ประทับ 308,000,000 บาท

2) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในพระราชฐานที่ประทับสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ

**สยามมกุฏราชกุมาร 198,000,000 บาท**

3) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในพระองค์ 65,625,000 บาท
4) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นเงินปีพระบรมวงศานุวงศ์ 57,856,000 บาท
5) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้ายในพระราชฐานต่างจังหวัด 110,000,000 บาท
6) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นเงินเบี้ยหวัดข้าราชการฝ่ายใน 8,908,200 บาท
7) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นเงินพระราชกุศลตามพระราชอัธาศัย 9,900,000 บาท
8) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายประสานงานโครงการสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 19,380,000 บาท

9) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 25,350,000 บาท

10) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงพระราชฐานและซ่อมเครื่องตกแต่ง 11,000,000 บาท

11) เงินอุดหนุนเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการปรับปรุงพระตําหนักจิตรลดารโหฐานพร้อมจัดหาซ่อม ทําเครื่องใช้เครื่องตกแต่ง 16,500,000 บาท

12) เงินอุดหนุนโครงการบูรณาการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต 5,000,000 บาท

5. งบรายจ่ายอื่น 3,500,000 บาท
1) ค่าใช้จ่ายที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ข้าราชการสํานักพระราชวังเดินทางไป ต่างประเทศ
2,000,000
บาท

วันอาทิตย์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 5

ประชาชนชาวไทย

ตรงกันข้าม ราชวัง Buckingham และเครื่องเพชรของราชวงศ์ถือว่าเป็นสมบัติของชนชาติอังกฤษ ไม่ใช่ของพระราชินี Elizabeth เพราะฉะนั้นมันไม่ถูกนับว่าเป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินของพระองค์ แต่ทรัพย์สมบัติของพระองค์มาจากอสังหาริมทรัพย์ในอังกฤษและสก๊อตแลนด์ ภาพศิลปะ อัญมนี และแสตมป์สะสมโดยพระอัยกา

3.ในหลวงเป็นกษัตริย์เหนือกษัตริย์ ทรงเป็นพระราชวงศ์ที่มั่งคั่งที่สุดของโลก2ปีซ้อนจัโดยForbes

1.พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช, ราชณาจักรไทยพระราชทรัพย์: 30 พันล้านดอลลาร์ (ลดลงจากปีก่อน 5 พันล้านดอลลาร์) พระชนมายุ:81

2.Sultan Haji Hassanal Bolkiah, บรูไนพระราชทรัพย์: 20 พันล้านดอลลาร์ (ไม่เปลี่ยนแปลงจากปีก่อน)
พระชนมายุ: 62

3.Sheikh Khalifa Bin Zayed Al Nahayan, สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์พระราชทรัพย์: 18 พันล้านดอลลาร์ (ลดลง 5 พันล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 61

4.King Abdullah bin Abul Aziz, ซาอุดิอาระเบียพระราชทรัพย์: 17 พันล้านดอลลาร์ (ลดลง 4 พันล้าดอลลาร์) พระชนมายุ: 85

5.Sheikh Mohammed Bin Rashid Al Maktoum, ดูไบพระราชทรัพย์: 12 พันล้านดอลลาร์ (ลดลง6 พันล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 59

6.เจ้าชายฮานส์-อาดัมที่ 2 แห่งลิกเตนสไตน์พระราชทรัพย์: ๑๒๒,๕๐๐ ล้านบาท (ลดลงจากปีที่แล้ว ๕๒,๕๐๐ ล้านบาท) พระชนมายุ: 64 พรรษา

7.King Mohammed VI, โมร็อคโคพระราชทรัพย์: 2.5 พันล้านดอลลาร์ (เพิ่ม1 พันล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 45

8.Sheikh Hamad bin Khalifa Al Thani, การ์ตาร์พระราชทรัพย์: 2 พันล้านดอลลาร์ (ไม่เปลี่ยนแปลง) พระชนมายุ: 57

9.Prince Albert II, โมนาโคพระราชทรัพย์: 1 พันล้านดอลลาร์ (ลดลง400ล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 51

10.Prince Karim Al Husseini, Aga Khanพระราชทรัพย์: 800 ล้านดอลลาร์ (ลดลง 200 ล้านดอลลาร์)
พระชนมายุ: 72

11.Sultan Qaboos bin Said, โอมานพระราชทรัพย์: 700 ล้านดอลลาร์(ลดลง400ล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 68

12.Queen Elizabeth II, สหราชอาณาจักรพระราชทรัพย์: 450 ล้านดอลลาร์ (ลดลง200 ดอลลาร์) พระชนมายุ: 83

13.Sheikh Sabah Al-Ahmad Al-Jaber Al Sabah, คูเวตพระราชทรัพย์: 400 ล้านดอลลาร์ (ลดลง 100 ล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 80

14.Queen Beatrix Wilhelmina Armgard,เนเธอร์แลนด์พระราชทรัพย์: 200 ล้านดอลลาร์ (ลดลง100 ล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 71

15.King Mswati III, สวาซิแลนด์พระราชทรัพย์:100 ล้านดอลลาร์(ลดลง 100 ล้านดอลลาร์) พระชนมายุ: 41


กระทรวงการต่างประเทศชี้แจง กรณีบทความพิเศษของนิตยสาร Forbes เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุด

เมื่อเดือนสิงหาคมปีที่แล้ว ฟอร์บสได้จัดอันดับให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวของไทยเป็นกษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก โดยอ้างว่าก่อนหน้านั้นนับเฉพาะทรัพย์สินส่วนพระองค์มีอยู่ราว 5 พันล้านดอลลาร์ เป็นอันดับที่ 5 ของโลก แต่ฟอร์บส์เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯมีพระราชอำนาจในการจัดการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ด้วย จึงนำทรัพย์สินดังกล่าวมารวมเป็น 35 พันล้านเหรียญฯจึงถือว่าร่ำรวยที่สุดในโลก

อย่างไรก็ตามกระทรวงการต่างประเทศได้ชี้แจงว่า กรณีที่นิตยสาร Forbes ได้เผยแพร่บทความพิเศษเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก ประจำปี พ.ศ. 2551 และได้

วันเสาร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 4

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

***ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2537 เป็นบริษัทโฮลดิ้ง ซึ่งสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ถือหุ้น 100% ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลและตรวจสอบของคณะกำกับดูแลของสำนักงาน ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูงของสำนักงานทรัพย์สินฯ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 มีทุนจดทะเบียน 11,621.57 ล้านบาท ทุนชำระแล้ว 11,240.95 ล้านบาท สินทรัพย์รวม 24,601.92 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้นจำนวน 14,183.56 ล้านบาท

ทำหน้าที่บริหารการลงทุนในหุ้นอื่น ๆ นอกจาก ปูนซิเมนต์ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และ เทเวศประกันภัย

2.พสกนิกรน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สำนักงานทรัพย์สินฯจึงยกเว้นการเสียภาษีเข้ารัฐ http://www.crownprop....th/th/main.php

ข้อมูลจากเวบไซต์ของสำนักงานทรัพย์สินฯระบุว่า

ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับการยกเว้นภาษีอากร
ทรัพย์สินส่วนพระองค์ จะต้องเสียภาษีอากร

ส่วนว่าทรัพย์สินนั้นเป็นของแผ่นดินหรือของพระมหากษัตริย์ กฎหมายฉบับปีพ.ศ.2491ระบุไว้ว่า

*มาตรา 6 รายได้จากทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ที่กล่าวในมาตรา 5 วรรคสองนั้นจะจ่ายได้ก็แต่เฉพาะในประเภทรายจ่ายที่ต้องจ่ายตามข้อผูกพัน รายจ่ายที่จ่ายเป็นเงินเดือนบำเหน็จ บำนาญ เงินรางวัล เงินค่าใช้สอย เงินการจร เงินลงทุน และรายจ่ายในการพระราชกุศลเหล่านี้ เฉพาะที่ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตแล้ว เท่านั้น

”รายได้ซึ่งได้หักรายจ่ายตามความในวรรคก่อนแล้ว จะจำหน่ายให้สอยได้ก็แต่โดยพระมหากษัตริย์ ตามพระราชอัธยาศัย”

ดังนั้นนิตยสารต่างประเทศคือFORBES และFORTUNE จึงเห็นว่า ในหลวงมีพระราชอำนาจเต็มในการจัดการทรัพย์สินของสำนักงานฯ จึงได้จัดให้พระองค์ท่านเป็นกษัตริย์ที่ร่ำรวยที่สุดในโลก

อย่างไรก็ดีกระทรวงต่างประเทศของไทยเคยชี้แจงว่า เป็นความเข้าใจผิดของนิตยสารต่างประเทศ เพราะสำนักงานทรัพย์สินฯเป็นสมบัติของชาติ

อย่างไรก็ตามหากพิจารณาตามแง่กฎหมายแล้ว ก็มักตีความกันว่า การชี้แจงว่าเป็นทรัพย์สินเป็นของแผ่นดินจึงตกไปตามนัยกฎหมายนี้

ส่วนเรื่องการยกเว้นภาษีให้สำนักงานทรัพย์สินฯนั้น ก็เนื่องจากพสกนิกรชาวไทยต่างน้อมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น

3.FORBES เทิดพระเกียรติในหลวงของเรารวยที่สุดเหนือกษัตริย์ทั่วโลก นับเป็นบุญของพสกนิกรชาวไทยที่ได้เกิดใต้ร่มพระบารมีกษัตริย์เหนือกษัตริย์

http://www.forbes.co...est-royals.html

นิตยสารฟอร์บส์ยังจัดอันดับให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นพระราชวงศ์ที่มั่งคั่งที่สุดของโลก ในบรรดาพระราชวงศ์ที่ทรงมั่งคั่งที่สุดในโลก 15 พระราชวงศ์ประจำปี 2552 อันเป็นการรักษาอันดับที่ 1 ไว้ได้ต่อเนื่องจากปีก่อนนี้

โดยฟอร์บส์ระบุว่าทรงมีพระราชทรัพย์รวม 30 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ(ราว1,020,000ล้านบาท)ลดลงจากปีก่อนราว 5 พันล้านเหรียญ(ราว170,000ล้านบาท)ทั้งนี้เนื่องจากการลดลงของมูลค่าสินทรัพย์ประเภทอสังหาริมทรัพย์และราคาหุ้นที่ถือโดยสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสำนักงานที่พระองค์ท่านมีพระราชอำนาจในการจัดการ

วิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เพิ่มขึ้น ส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศได้มีผลกระทบต่อพระราชทรัพย์ให้ลดลงไปด้วย

ฟอร์บส์รายงานว่า พระเจ้าอยู่หัวของไทยทรงครองสิริราชย์สมบัติยาวนานที่สุดในโลก พระองค์ได้รับการเคารพสักการะเยี่ยงพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง ทรงพระราชสมภพในสหรัฐอเมริกา ได้รับการศึกษาในสวิตเซอร์แลนด์ ทรงพระราชอำนาจในราชณาจักรที่แบ่งแยกคนในชาติออกเป็นชนชั้นสูง ชนชั้นกลาง และประชาชนในชนบท

วิกฤตการณ์เศรษฐกิจโลกสร้างผลกระทบให้เกิดภาวะเศรษฐกิจถดถอยในราชอาณาจักรไทย พระราชวงศ์ไทยมีอำนาจจัดการทรัพย์สินในสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ รวมทั้งการลงทุนภาคเอกชน เช่น เครือซิเมนต์ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และการเป็นเจ้าของที่ดินมหาศาล รวมทั้งที่ดินกว่า3,500 เอเคอร์ในเขตกรุงเทพฯที่จัดการดูแลโดยสำนักงานทรัพย์สินฯ

อย่างไรก็ตามรัฐบาลไทยย้ำว่าทรัพย์สินดังกล่าวไม่ใช่ทรัพย์สินส่วนพระองค์ แต่ถูกจัดการเพื่อประเทศชาติ

ฟอร์บส์ระบุด้วยว่า ความมั่งคั่งของราชวงศ์มาจากมรดกตกทอดหรือตำแหน่งทางอำนาจ มักจะถูกแบ่งปันกันในเครือญาติ และหลายๆครั้งที่มันหมายถึงเงินที่ถูกควบคุมโดยราชวงศ์ในรูปของกองมรดก (trust) สำหรับประเทศหรืออาณาเขต และด้วยเหตุผลนี้ ราชวงศ์ทั้ง 15 ราชวงศ์ในรายชื่อนี้ขาดคุณสมบัติที่จะถูกจัดอันดับประจำปีของเราในบุคคลที่ร่ำรวยที่สุด ไม่ว่าเขาจะมีสินทรัพย์เท่าไร

ยกตัวอย่างเช่น กษัตริย์ Mswati ที่ 3 ของ Swaziland เป็นผู้รับผลประโยชน์ของ 2 กองทุนที่จัดตั้งขึ้นโดยบิดาของเขาใน trust ของประเทศ Swaziland ในช่วงที่ครองราชย์เขามีอำนาจตัดสินใจเบ็ดเสร็จในการใช้เงินที่เป็นรายได้จาก trust นั้น ซึ่งทำให้เขาสามารถสร้างราชวังให้กับมเหสี 13 พระองค์และพำนักอยู่ในโรงแรมระดับ 5 ดาวเมื่ออยู่ต่างประเทศ

เช่นเดียวกัน เรารวมทรัพย์สินของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ของไทยในส่วนของทัรพย์สินของกษัตริย์ภูมิพลเพราะพระองค์เป็นผู้มีอำนาจเต็มในกองมรดก (trustee) อย่างไรก็ตามรัฐบาลไทยไม่เห็นด้วยและออกมาประกาศว่าทรัพย์สินของสำนักงานทรัพย์สินไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สมบัติส่วนพระองค์ของกษัตริย์ แต่สำนักงานทรัพย์สินครอบครองและบริหารทรัพย์สินของสถาบันกษัตริย์ในนามของ

วันศุกร์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 3

จึงน้อมใจถวายพระเกียรติยศให้ทั้ง3โลกรับรู้พระราชบุญญาบารมี และพระมหากรุณาธิคุณให้แผ่ไพศาล ดังต่อไปนี้

1. ต่างชาติเทิดพระเกียรติให้ในหลวงทรงเป็นนักลงทุนที่ร่ำรวยมั่งคั่งเป็นอันดับ1ในตลาดหุ้นไทย

สำนักข่าวบลูมเบิร์ก สำนักข่าวอันดับ1ในโลกเศรษฐกิจการเงินการลงทุนของโลก เทิดพระเกียรติยกย่องให้ในหลวงของปวงชนชาวไทย เป็นนักลงทุนที่มั่งคั่งที่สุดในตลาดหุ้นไทย
http://www.bloomberg...r=world_indices

โดยทรงถือครองหุ้นในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ดังต่อไปนี้

*1.1 SAMCO เจ้าของหมู่บ้านสัมมากร บ้านระดับเศรษฐีอยู่
1. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 197,414,850 43.87

2. ท่านผู้หญิงทัศนาวลัย ศรสงคราม 45,847,050 10.19

3. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 25,000,000 5.56

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

*1.2 TIC-ไทยประกันภัย
1. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 3,526,567 18.56
16. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 214,755 1.13

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

*1.3 APRINT นิตยสารแพรว ร้านหนังสือนายอินทร์

10. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช 3,157,895 1.58

15. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี 1,263,158 0.63

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

*1.4 MINT-พิซซ่าฮัท ไอศกรีมสเวนเซ่นส์

12. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 72,470,861 2.24

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

*1.5SINGER-จักรเย็บผ้าซิงเกอร์

16. พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 1,383,770 0.51

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

*1.6 DVS-เทเวศร์ประกันภัย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 27,600 0.23%
สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 11,787,261 98.227%
ผู้ถือหุ้นอื่นๆ 185,139 1.543%
รวม 12,000,000 100.00%

http://www.deves.co....areholder04.asp
เพิกถอนออกจากตลาดหลักทรัพย์เมื่อเร็วๆนี้

*1.7 SCC-ปูนซิเมนต์ไทย นอกจากขายปูนแล้ว ก็ยังถือหุ้นโตโยต้าประเทศไทย 10% คูโบต้าประเทศไทย 10%

1. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์* 360,000,000 30.00
6. บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 23,220,000 1.94
*นิตยสารFORBES และFORTUNEถือกันว่าสำนักงานฯมีในหลวงมีพระราชอำนาจในการจัดการเต็มที่ จึงนับเป็นพระราชทรัพย์ อย่างไรก็ตามกระทรวงต่างประเทศของไทยชี้แจงว่า สำนักงานฯเป็นสมบัติของชาติ

http://www.set.or.th...e=th&country=TH

1.8SCB-ธนาคารไทยพาณิชย์
1. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 511,107,666 19.65

2. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 211,834,292 8.14
9. บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด** 81,410,200 3.13
**เป็นบริษัทโฮลดิ้งสำหรับการลงทุนของสำนักงานทรัพย์สินฯ
http://www.set.or.th...e=th&country=TH

1.9CNT คริสเตียนี่&นีลเซ่น บริษัทรับเหมาก่อสร้าง
1. บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด*** 339,353,981 84.59

1.10 TPC ไทยพลาสติกเคมีภัณฑ์

1. บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) 393,789,820 45.00

2. บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด 197,781,250 22.60

วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 2

เพื่อความสะดวกในการบริหารจัดการสินทรัพย์ต่าง ๆ สำนักงานทรัพย์สินฯ ได้มีการจัดตั้งบริษัทในเครือขึ้น 2 บริษัท คือ

• บริษัท ทุนลดาวัลย์ จำกัด ทำหน้าที่บริหารการลงทุนในหุ้นอื่น ๆ นอกจาก ปูนซิเมนต์ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และ เทเวศประกันภัย

• บริษัท วังสินทรัพย์ จำกัด ทำหน้าที่ดูแลการลงทุนอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่

ทั้งสองบริษัทเสียภาษีอากรเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป
[แก้] หลักทรัพย์ลงทุน
หลักทรัพย์ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ส่วนใหญ่เป็นหุ้นใน 3 บริษัทหลักคือ ปูนซิเมนต์ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และ เทเวศประกันภัย บริษัทเหล่านี้เสียภาษีอากรเช่นเดียวกับบริษัททั่วไป มีข้อมูลปัจจุบันดังนี้

• SCC : บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน) ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว 1,200 ล้านบาท ราคาตลาดประมาณหุ้นละ 200 บาท
o สนง.ทรัพย์สินฯ ถือหุ้นประมาณ 30% จำนวนประมาณ 360 ล้านหุ้น มูลค่ารวมประมาณ 72,000 ล้านบาท
o ทุนลดาวัลย์ ถือหุ้นประมาณ 2% จำนวนประมาณ 23 ล้านหุ้น มูลค่ารวมประมาณ 4,600 ล้านบาท
• SCB : ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ทุนจดทะเบียนชำระแล้วประมาณ 15,000 ล้านบาท ราคาตลาดประมาณหุ้นละ 100 บาท
o สนง.ทรัพย์สินฯ ถือหุ้นประมาณ 8% จำนวนประมาณ 150 ล้านหุ้น มูลค่ารวมประมาณ 15,000 ล้านบาท
o ทุนลดาวัลย์ ถือหุ้นประมาณ 4% จำนวนประมาณ 80 ล้านหุ้น มูลค่ารวมประมาณ 8,000 ล้านบาท
• บริษัท เทเวศประกันภัย จำกัด เป็นบริษัทขนาดกลาง ทุนจดทะเบียน 120 ล้านบาท
o สนง.ทรัพย์สินฯ ถือหุ้นประมาณ 87% จำนวนประมาณ 10 ล้านหุ้น มูลค่ารวมประมาณ 87 ล้านบาท

[แก้] ผลการดำเนินงาน
บทความนี้ต้องการแหล่งอ้างอิงเพิ่มเติม เพื่อให้บทความน่าเชื่อถือและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
คุณสามารถช่วยพัฒนาวิกิพีเดีย โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงที่เหมาะสม ไม่ควรปล่อยให้งานเขียนของคุณปราศจากแหล่งอ้างอิง
รายละเอียดเพิ่มเติม การอ้างอิงแหล่งที่มา - การพิสูจน์ยืนยันได้ - วิธีการเขียน - ป้ายนี้มีไว้เพื่ออะไร

ภายหลังจากมีฐานะเป็นนิติบุคคลในปี พ.ศ. 2491 สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์มีการบริหารงานเช่นเดียวองค์กรทั่วไป จนเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ ในปี พ.ศ. 2540 ซึ่งบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่สำนักงานทรัพย์สินฯ ถือหุ้นอยู่ได้รับความเสียหายอย่างหนัก จึงได้มีการปรับปรุงการบริหารงาน โดยยึดหลัก เศรษฐกิจพอเพียง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 และกิจการต่าง ๆ ที่ลงทุนเริ่มฟื้นตัวได้ในปี พ.ศ. 2546 ซึ่งทำให้สำนักงานทรัพย์สินฯ มีรายได้ในปี พ.ศ. 2546 ประมาณ 3,800 ล้านบาท

จากการแถลงข่าวประจำปี พ.ศ. 2548 ของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ โดย นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้แจ้งว่าในปี พ.ศ. 2547 สำนักงานทรัพย์สินฯ มีรายได้ประมาณ 5 พันล้านบาท โดยประมาณ 90% เป็นรายได้จากเงินปันผลของหุ้นใน บริษัทปูนซิเมนต์ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และเทเวศประกันภัย ที่เหลืออีกประมาณ 8% หรือประมาณ 400 ล้านบาท เป็นรายได้จากค่าเช่า ที่ได้รับจากประชาชน และหน่วยงานของราชการ ที่เช่าที่ดินของ สำนักงานทรัพย์สินฯ

[แก้] อ้างอิง
• พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2479
• พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2484
• พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2491

[แก้] แหล่งข้อมูลอื่น
• เว็บไซต์ สำนักงานทรัพย์ส่วนพระมหากษัตริย์
• แผนที่และภาพถ่ายทางอากาศของ สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
o ภาพถ่ายดาวเทียม จาก วิกิแมเปีย หรือ กูเกิลแมป
o แผนที่ จาก มัลติแมป หรือ โกลบอลไกด์

ภาพถ่ายทางอากาศ จาก เทอร์ราเซิร์ฟเวอร์






ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุลัพระบาท ปกเกล้าปกกระหม่อม

ด้วยปวงข้าพระพุทธเจ้า รู้สึกน้อมสำนึกในพระมหากรุณาเป็นล้นพ้น จึงใคร่ขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตนำเสนอพระราชกรณียกิจน้อยใหญ่ และพระราชบุญญาธิการอันเกริกไกรของพระองค์ท่านผู้เป็นกษัตริย์เหนือกษัตริย์ทั่วสากลโลก น้อมถวายพระเกียรติให้ปรากฎไปทั้งสากลจักรวาล

ด้วยว่าพระราชบุญญาธิการ และพระราชกรณียกิจดังกล่าว หน่วยงานราชการ และภาคเอกชนต่างทราบกันดี เพราะมีบันทึกไว้ทั้งเอกสารราชการและเอกสารชั้นต้นต่างๆ แต่จะหาใครถวายความจงรักภักดีถวายพระเกียรตินั้น หาไม่ได้เลย ปวงข้าพระพุทธเจ้า

วันพุธที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ 1

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
ไปที่: ป้ายบอกทาง, ค้นหา

สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Property Bureau หรือย่อว่า CPB) เป็นหน่วยงานที่จัดตั้งขึ้นตามความใน พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2479 เดิมมีฐานะเป็นหน่วยงานราชการ สังกัดกระทรวงการคลัง และได้ยกฐานะขึ้นเป็นนิติบุคคลเมื่อปี พ.ศ. 2491 มีหน้าที่ดูแลรักษาและบริหารทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ที่กำหนดให้แยกต่างหากจากทรัพย์สินส่วนพระองค์ (เช่น วังสระปทุม ที่ทรงได้รับสืบทอดมาจากพระราชบิดา) ซึ่งดูแลโดยสำนักงานจัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ และทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน (เช่น พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน) ซึ่งอยู่ในความดูแลของสำนักพระราชวัง

ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ กล่าวโดยสรุปแล้วก็คือพระราชทรัพย์ของราชวงศ์จักรีที่แยกต่างหากจากทรัพย์สินของราชการ เช่น เงินจากการแต่งสำเภาค้าขายต่างประเทศของรัชกาลที่ 3 หรือที่เรียกว่า "เงินถุงแดง" ซึ่งตกทอดมาถึงรัชกาลที่ 5 และใช้จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามแก่ประเทศฝรั่งเศส หลังเหตุการณ์สงคราม ร.ศ. 112 ซึ่งมีส่วนช่วยให้ประเทศสยามรักษาเอกราชไว้ได้ หรือ บริษัทปูนซิเมนต์ไทย ที่ก่อตั้งโดยรัชกาลที่ 6

ต่อมาภายหลังการปฏิวัติปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 เนื่องจากทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์เป็นพระราชทรัพย์ของราชวงศ์จักรีที่แยกต่างหากจากทรัพย์สินของราชการ เพื่อความเหมาะสมจึงมีการออกกฎหมายกำหนดให้มีผู้รับผิดชอบบริหารจัดการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์โดยเฉพาะ คือ พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2479 และมีการแก้ไขปรับปรุงมาจนถึงปัจจุบัน

ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ในความดูแลของสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้รับการยกเว้นภาษีอากรเช่นเดียวกับทรัพย์สินส่วนสาธารณสมบัติของแผ่นดิน ตามความในมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2479 ในขณะที่ทรัพย์สินส่วนพระองค์ในความดูแลของสำนักงานจัดการทรัพย์สินส่วนพระองค์ไม่ได้รับการยกเว้นภาษีอากร
สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ มีทรัพย์สินในความดูแลเป็นที่ดินกว่า 54 ตร.กม.ในกรุงเทพมหานคร และ 160 ตร.กม.ในจังหวัดอื่น โดยทำสัญญาให้เช่าแก่หน่วยงานราชการ องค์กรธุรกิจและบุคคลทั่วไปรวมประมาณ 36,000 สัญญา นอกจากนี้ยังมีหลักทรัพย์ลงทุนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยส่วนใหญ่เป็นหุ้นใน 3 บริษัทหลักคือ ปูนซิเมนต์ไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ และเทเวศประกันภัย

เนื้อหา
[ซ่อน]
• 1 ที่ตั้ง
• 2 การบริหาร
• 3 บริษัทในเครือ
• 4 หลักทรัพย์ลงทุน
• 5 ผลการดำเนินงาน
• 6 อ้างอิง
• 7 แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้] ที่ตั้ง
สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ได้ย้ายที่ทำการมาแล้วสี่ครั้ง ครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2489 มาอยู่ที่ "วังลดาวัลย์" หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า "วังแดง" ตั้งอยู่เลขที่ 173 ถนนราชสีมา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร อาคารสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์แห่งนี้ได้รับรางวัล อาคารอนุรักษ์ดีเด่น ประจำปี พ.ศ. 2525 จากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์

[แก้] การบริหาร
พระราชบัญญัติจัดระเบียบทรัพย์สินฝ่ายพระมหากษัตริย์ พุทธศักราช 2479 กำหนดให้มี คณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ประกอบด้วย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง และกรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 4 คน ซึ่งพระมหากษัตริย์จะได้ทรงแต่งตั้ง และในจำนวนนี้จะได้ทรงแต่งตั้งให้เป็น ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ หนึ่งคน

ปัจจุบัน คณะกรรมการทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ ประกอบด้วย

• รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นประธานกรรมการโดยตำแหน่ง
• นายเชาวน์ ณ ศีลวันต์ เป็นกรรมการ
• นายสุธี สิงห์เสน่ห์ เป็นกรรมการ
• เรืออากาศโทศุลี มหาสันทนะ เป็นกรรมการ
• นายพนัส สิมะเสถียร เป็นกรรมการ
• นายเสนาะ อูนากูล เป็นกรรมการ
• นายจิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา เป็นกรรมการ และ ผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

ผู้บริหารอีกคนหนึ่งที่มีบทบาทในสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์คือ ม.ร.ว. ยงสวาสดิ์ กฤดากร ซึ่งดำรงตำแหน่งเป็น รองผู้อำนวยการสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์
[แก้] บริษัทในเครือ
 


 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น